บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2017

สารพิวรีนคืออะไร

รูปภาพ
สารพิวรีนคืออะไร      พิวรีนคือ สารประกอบที่มีธาตุไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบแต่ไม่ใช่โปรตีน สารนี้เป็นตัวทำให้เกิดกรดยูริก (uric acid) ซึ่งเป็นตัวทำให้ข้อปวดบวม และในทางการแพทย์นั้นใช้อาหารที่มีพิวรีนน้อย (Low Purine diet) รักษาโรคคู่กับยา หรือถ้าเป็นน้อยๆก็ใช้แต่อาหารอย่างเดียว ก็สามารถทำให้โรคทุเลาได้ ดังนั้นอาหารที่มีพิวรีนน้อยจึงใช้บำบัดได้ค่ะเช่น ผู้ป่วยโรคเกาต์ในระยะที่มีการกำเริบอย่างเฉียบพลัน ผู้ป่วยโรคเกาต์เรื้อรัง ผู้ป่วยด้วยโรคนิ่วในไต เพราะนิ่วมีส่วนประกอบของกรดยูริก ผู้ป่วยไม่ว่าโรคเกาต์หรือโรคนิ่วในไตจำเป็นที่จะต้องรู้ว่าอาหารใดมีพิวรีนมากเพื่อจะได้พยายามหลีกเลี่ยงหรือละเว้น และอาหารใดมีพิวรีนน้อยหรือไม่มีเลย ซึ่งผู้ป่วยจะได้กินได้โดยไม่ต้องจำกัดปริมาณ อาหารที่มีพิวรีนมากซึ่งผู้ป่วยควรละเว้นอย่างยิ่ง ได้แก่  เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ หัวใจ ไต มันสมอง ปลาซาร์ดีน ปลาแอนโชวี รวมไปถึงกระปิต่างๆด้วย น้ำต้มเนื้อ น้ำเกรวี่ เครื่องดื่มหรืออาหารที่มีแอลกอฮอล์ และยีสต์(อาหารที่ใส่ยีสต์มากๆ) อาหารที่กล่าวมาข้างต้นเป็นอาหารที่ต้องห้าม(เด็ดขาด)เลยนะค่ะสำหรับผู้ป่วย เพราะว่า

การรักษาด้วยวิธีการที่ไม่ใช้ยา

รูปภาพ
โรคเก๊าท์ ...การรักษาด้วยวิธีการที่ไม่ใช้ยา      โรคเก๊าท์เป็นโรคที่เกิดจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง และในปัจจุบันมียาหลายชนิดที่ใช้ในการรักษาภาวะกรดยูริกในเลือดสูงก็ตาม แต่การรักษาด้วยวิธีการที่ไม่ใช้ยาก็ยังเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการรักษาผู้ป่วย ซึ่งแพทย์ส่วนใหญ่ได้ละเลยความสำคัญของสิ่งเหล่านี้ไป การให้การศึกษาแก่ผู้ป่วย การให้ความรู้เรื่องโรคเก๊าท์แก่ผู้ป่วย เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าโรคเก๊าท์ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ หรือเมื่อข้อหายอักเสบแล้วไม่มีความจำเป็นต้องรับประทานยาต่อ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นความเข้าใจที่ผิด และคลาดเคลื่อน ผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้าใจในตัวของโรค การปฏิบัติตัว รวมถึงแนวทางการรักษาที่ถูกต้อง รวมทั้งการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ไม่ควรปรับขนาดยาเอง เป็นต้น -ผู้ป่วยควรได้รับการแนะนำให้หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา หรือเบียร์ เนื่องจากสุราและเบียร์สามารถทำให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงขึ้น -หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์และอาหารทะเลในปริมาณมาก -ควรดื่มนมให้มาก และดื่มน้ำให้มากเพื่อเพิ่มการขับกรดยูริกออกทางไต -หลีกเลี่ยงการใช้

โรคเก๊าท์

รูปภาพ
โรคเก๊าท์คืออะไร อาการโรคเก๊าท์ สาเหตุ และวิธีรักษาโรคเก๊าท์ให้หายขาด อาการปวดข้อนิ้วหัวแม่เท้า นิ้วมือ เข่า โรคเก๊าท์ โรคเก๊าท์ (Gout) คือโรคที่อยู่จัดอยู่ในกลุ่มของโรคปวดข้อ ข้ออักเสบซึ่งเกี่ยวพันกับกรดยูริคในกระแสเลือด โรคชนิดนี้จะพบได้มากเป็นพิเศษในผู้ชายซึ่งจะมากกว่าผู้หญิงเกือบ 10 เท่าเนื่องจากผู้หญิงมีฮอร์โมนเอสโตรเจนสูง ซึ่งมีคุณสมบัติในการช่วยขับกรดยูริคออกจากร่างกาย และโรคเก๊าท์นี้จัดว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคชราภาพหรือโรคที่เกิดจากร่างกายเสื่อมสภาพลง และประสิทธิภาพในการทำงานแย่ลงไป ซึ่งประสิทธิภาพที่ว่านี้คือกระบวนการการขับกรดยูริคออกจากร่างกายทำงานได้แย่ลงทำให้เกิดการสะสมของกรดยูริคตามข้อ ส่งผลให้เกิดอาการปวดบวมแดงอักเสบการบริเวณข้อต่อ ซึ่งเป็นอาการของโรคเก๊าท์นั่นเอง สาเหตุของโรคเก๊าท์คืออะไร โรคเก๊าท์มีสาเหตุเกิดจากการทำงานผิดปกติของระบบร่างกายในกระบวนการขับกรดยูริคออกไป ทำให้เกิดการสะสมคั่งค้างของกรดยูริคในกระแสเลือด แล้วไปสะสมตามข้อต่อบริเวณต่างๆ จนเกิดอาการปวดบวมและอักเสบขึ้นมา โดยสรุปโรคเก๊าท์คือเกิดจากการที่การขับกรดยูริคออกไม่สมดุลกับการผลิตกรดยูริคที่อยู

ฟลาโวนอยด์

รูปภาพ
ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids)      สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ จัดเป็น nutraceutical มีสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) โดยทำหน้าที่ในการหน่วงเหนี่ยวหรือเป็นสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation) จึงช่วยหยุดปฏิกิริยาลูกโซ่ของอนุมูลอิสระได้ สารฟลาโวนอยด์ที่พบในพืช naringin เป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ที่ให้รสขมในเปลือกของผลไม้พืชตระกูลส้ม (citrus fruit) catechin พบในใชชาพบมากในชาเขียว สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ จัดเป็น nutraceutical มีสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) โดยทำหน้าที่ในการหน่วงเหนี่ยวหรือเป็นสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation) จึงช่วยหยุดปฏิกิริยาลูกโซ่ของอนุมูลอิสระได้ แหล่งของอาหารที่พบฟลาโวนอยด์มาก ได้แก่ พืช ผักและผลไม้ เช่น ยอ ถั่วเหลือง กระชายดำ สารสกัดจากเมล็ดองุ่น รวมทั้งเครื่องดื่มต่างๆ เช่น ชา และไวน์ เป็นต้น ฟลาโวนอยด์ เป็นสารพฤกษเคมีที่มีคุณสมบัติต่อต้านอนุมูลอิสระ พบในเม็ดสีชนิดละลายในน้ำของผัก ผลไม้ เมล็ดธัญพืช ใบไม้ และเปลือกไม้ ( ฟลาโวนอยด์ ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในร่างกายของคนเรา คือ ไบโอฟลาโวนอยด์ ) ฟลาโวนอยด์มีอยู่มากมายหลายชนิด และพื

ดูแลคนที่เป็น โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)

รูปภาพ
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)      เป็นความผิดปกติเรื้อรัง ซึ่งระบบภูมิคุ้มกันรุกรานเนื้อเยื่อในร่างกายหลายแห่งโดยเฉพาะส่วนข้อ ทำให้เกิดการอักเสบและทำให้ข้อเสื่อม อาการแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ไม่มีอาการ ผู้ป่วยจะรู้สึกสบายดี ส่วนระยะที่อาการกำเริบ ผู้ป่วยจะมีอาการเมื่อยล้า เบื่ออาหาร มีไข้ต่ำๆ ปวดกล้ามเนื้อและข้อ กล้ามเนื้อและข้อเกร็ง(พบมากในช่วงเช้า) ข้อเปลี่ยนเป็นสีแดง บวม ปวด นิ่ม โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นทั้ง 2 ข้างของร่างกายสมดุลกัน มักเกิดกับข้อเล็ก หากทิ้งไว้เรื้อรัง จะลุกลามมีผลทำลายอวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด หัวใจ เม็ดเลือด ทำให้ต่อมน้ำตาฝ่อ ตาแห้งฝืด ฯลฯ * กรณีมีอาการมากๆควรอยู่ในความดูแลของแพทย์ การดูแลด้านโภชนาการควรเป็นอย่างไร จะทานอาหารอะไรได้บ้าง ที่ไม่มีผลทำให้อาการกำเริบ? (ทานได้อย่างสบายใจ)  อาหารที่ "ไม่มีผลกระตุ้น" ให้เกิดอาการปวดข้อ (ที่มีบทความต่างประเทศแนะนำไว้) สารมารถทานได้ ได้แก่ - ข้าวกล้อง - ผลไม้ที่ผ่านความร้อน หรือ ทำให้แห้งแล้ว ได้แก่ เชอรี่ แครนเบอรี่ ลูกแพร์ ลูกพรุน (ยกเว้น ผลไม้ตระกูลส้ม กล้วย ลูกพีช หรือ มะเขือเทศ) - ผักสี

การดูแลต่อมไทรอยด์

รูปภาพ
ต่อมไทรอยด์      ควบคุมระบบเผาผลาญของร่างกายของคุณและการทำการที่สำคัญต่างๆของร่างกาย ต่อมไทรอยด์เป็นอวัยวะที่มีลักษณะคล้ายผีเสื้อและมีความยาวประมาณ 2 นิ้วในร่างกายของคุณซึ่งตั้งอยู่ใกล้ฐานของคอเหนือกระดูกไหปลาร้า ต่อมนี้หลั่งฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมเมตาบอลิซึมของคุณและกระบวนการสำคัญอื่นๆภายในร่างกาย บางครั้ง กระดูกอ่อนไทรอยด์ที่สามารถมองเห็นได้จะเรียกกันว่าลูกกระเดือก ต่อมไทรอยด์เป็นส่วนหนึ่งของระบบต่อมไร้ท่อซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยอวัยวะที่ผลิต กักเก็บและหลั่งฮอร์โมนเข้าไปสู่กระแสเลือด - ต่อมไทรอยด์ สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน จากแร่ธาตุ "ไอโอดีน" ในอาหารที่กินเข้าไป เป็นวัตถุดิบ - หน้าที่ของ "ไทรอยด์ฮอร์โมน" เกี่ยวกับการพัฒนาการของร่างกายและอวัยวะต่างๆ รวมทั้งระบบการเผาผลาญอาหารเพื่อให้เกิดพลังงานแก่ร่างกาย ออกฤทธิ์กระตุ้นทั่วร่างกาย ทำให้เซลล์ต่างๆ ทำงานเป็นปกติ อวัยวะที่กระตุ้นมากที่สุด คือ หัวใจ กับ ระบบประสาท หน้าที่ของต่อมไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนไทรอกซีน (T4) และไตรไอโอโดไธโรนีน (T3) ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบเผาผลาญของร่างกายของคุณ(การที่ร่างกายของคุณใช้พลั

ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ

รูปภาพ
ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ (Lymphadenitis)  คือ ภาวะที่เกิดมีการอักเสบของต่อมน้ำเหลือง > มารู้จัก "ต่อมน้ำเหลือง" กัน - ต่อมน้ำเหลือง เป็นเนื้อเยื่อในระบบน้ำเหลือง โดยมีลักษณะเป็นก้อนเล็กๆ รูปไข่ นุ่ม เคลื่อนที่ได้เล็กน้อย มีขนาดเล็กเป็นมิลลิเมตร ในภาวะปกติมักคลำไม่พบ เพราะจะอยู่ปนไปกับเนื้อเยื่อไขมันและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันต่างๆ - ต่อมน้ำเหลือง จะมีกระจายอยู่ทั่วตัวในทุกอวัยวะยกเว้นในสมอง มีหน้าที่สำคัญ คือ เป็นตัวดักจับสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกายโดยเฉพาะเชื้อโรค นอกจากนั้นยังมีหน้าที่ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันต้านทานโรคให้กับร่างกายด้วย - - ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ เป็นภาวะที่พบได้บ่อยมาก โดยเฉพาะที่เกิดจากมีการติดเชื้อของเนื้อเยื่อ/อวัยวะใดๆแล้วส่งผลให้เกิดการอักเสบของต่อมน้ำเหลืองที่อยู่ใกล้เคียงตามมา แต่ไม่มีรายงานความชุกของภาวะนี้ อย่างไรก็ตาม เป็นภาวะที่พบได้ในทุกวัยตั้งแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึงผู้สูงอายุ และพบได้ในทั้งในเพศหญิงและเพศชายเท่าๆกัน - - ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ อาจเกิดเพียง ต่อมเดียว, หลายๆต่อมพร้อมๆกัน, ในหลายตำแหน่ง (เช่น คอ รักแร้ ขาหนีบ), และ/หรือ ทั้งด้านซ

โรคแผลในกระเพาะหรือลำไส้ส่วนต้น

รูปภาพ
โรคแผลในกระเพาะหรือลำไส้ส่วนต้น "โรคแผลในกระเพาะหรือลำไส้ส่วนต้น" กับ "โรคกรดไหลย้อน" เป็นโรคคนละโรคกัน  โรคกระเพาะติดเชื้อ หรือ โรคแผลในกระเพาะหรือลำไส้ส่วนต้น คืออะไร? > เมื่อพูดถึง "โรคกระเพาะ" หลายๆท่านอาจสับสนระหว่าง "โรคกรดไหลย้อน" และ "โรคแผลในกระเพาะหรือลำไส้ส่วนต้น" ว่าเป็นโรคเดียวกันหรือไม่ ตอบว่า : ทั้ง 2 โรคนี้ เป็นโรคคนละโรค กันนะครับ > โรคกรดไหลย้อน ภาวะการเกิดของโรค ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคแต่ประการใด แต่เกิดจากภาวะของกรดในกระเพาะค่อยๆไปทำลายเซลล์เยื้อบุผิวของ "หูรูด" (ส่วนบน) ของกระเพาะอาหารที่ต่อเนื่องมาจาก "หลอดอาหาร" (ส่วนล่าง) ทำให้หูรูดส่วนนั้นเกิดการอักเสบและอาจทำให้มีอาการแสบร้อนกลางหน้าอก ก่อนหรือหลังทานอาหาร สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องในการดำเนินชีวิตจึงทำให้เกิดโรคนี้ แต่ในส่วนของ โรคกระเพาะติดเชื้อ หรือ โรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ส่วนต้น นั้น - สาเหตุที่แท้จริงของโรค เกิดจาก "เชื้อโรค" ที่ชื่อว่า เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร หรือเรียกย่อว่า เอช.ไพโล